โรคหัวใจ สาเหตุ และวิธีรักษา

โรคหัวใจ สาเหตุ และวิธีรักษา

โรคหัวใจ สาเหตุ และวิธีรักษา

        เพราะหัวใจเป็นอวัยวะที่สำคัญยิ่งของรำงกายมีภาระหน้ำที่คอยสูบฉีดเลือดให้ไหลเวียนไปหล่อเลี้ยงตามเซลล์ต่างๆทั่วร่างกายซึ่งภาระหน้ำที่ที่หัวใจรับดูแลอยู่นั้นถือว่าหนักเอาการทำให้โอกาสที่จะเกิดความผิดปกติขึ้นมาก็มีแน่ๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ไม่ใส่ใจประเภทช่างมันฉันไม่แคร์ซึ่งถือว่ำเป็นการทำร่ายกายแบบไม่รู้ ตัวเพราะคนเรามักไม่ค่อยรู้ตัวกันว่าทำอะไรกับตัวเองบ้าง
          ความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นกับหัวใจนั้นค่อนข้างมีหลากหลายไม่ว่าจะเป็นหลอดเลือดหัวใจตีบ/แตกหัวใจขาดเลือดหัวใจโดลินห้วใจรั่วและกล้ามเนี้อหัวใจเสื่อมแน่นอนที่สุดความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับหัวใจคือโรคร้ายๆที่อาจพรากลมหายใจของคุณไปอย่างถาวร อยากจะบอกว่า หัมาหลียวแลหัวใจกันบ้างเพี่อการมีชีวิตที่ยืนยาว และถัดจากนี้จะขอหยิบยกเรื่องโรคที่เกี่ยวกับหัวใจมาให้ด้รู้จักกันสักสองโรคผืออาจทำให้คุณได้รู้ตักอนเพราะไม่แน่หากวันหนึ่งวันใดจำโรคหัวใจมาถามหา จะได้รับมือได้ทันท่วงทีว่าแลว...ก็ตามนี้เลยครับ


โรคหลอดเลือดหัวใจ
           จากสถิติบอกว่าโรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุการตายในอันดับดันๆและมีแนวโน้มว่าจะพบมากขึ้นที่สำคัญ..อายุของคนที่ริมเป็นโรคหัวใจก็ลดน้อยลงกว่าเดิมนั่นอาจเป็นพราะพฤติกรรมของคนทำงานในยุคนี้แย่ลง เช่นต้องนั่งอยู่หน้คอมพิวเตอร์ทั้วันไมีเวลาไปออกกำลังกายและกินอาหารฟาสต์ฟู้ด เป็นประจำ
          โรคหลอดเลือดห้วใจเกิดจากมี plaque เกาะอยู่ด้านในข้างเส้แลือด plaque เหล่านี้เกิดจากไขมันคอเลสเตอรอลและสารอื่นๆทำให้เกิดภาวะที่เล้แลือดแข็งตัวกว่าปกติและ plaque ก็เป็นตัวการทำให้เสันเลือดแดงดีบส่งผลให้ริมาณแลือดที่ไหลไปเลี้ยงกลัมเนี้อหัวใจน้อยลง และอาจเกิดเป็นลิ่มเลือดไปเกาะหรืออุดตันที่เส้นเลือด ทำให้หัวใจขาดเลือดและเกิดอาการเจ็บแน่นหน้าอก (an gina) หรือหัวใจวาย (heart attack)
         
 Angina เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดของโรคเส้นเลือดหัวใจลักษณะอาการคือเจ็บหน้ำอกเป็นอาการที่รู้สึกแน่นๆหน้ำอกหรือเจ็บบีบๆอยู่ในอก แต่ตำแหน่งจะไม่ชัดเจนหลายคนอาจมีอาการเจ็บหน้าอกแปลับๆเวลาเอี้ยวตัวขยับตัวหรือหายใจลึกๆซึ่งลักษณะแบบนี้เป็นการเจ็บหน้าอกจากการอักเสบของกระดูกอ่อนที่หน้ำอกและลักษณะอีกอยางของการเจ็บหน้าอกจากหัวใจคือการปวดร้าวไปตามหัวไหล่ต้นแขนคางและหลังอาการจะแย่ลงเมื่อมีการออกแรงแต่จะเบาลงเมื่อได้พักนอกจากนี้อาการอีกแบบที่พบบ่อยคือการหายใจไม่ทันหอบเหนื่อยแต่จะเกิดขึ้นเมื่อมีภาวะหัวใจลัมเหลวร่วมดัวย

ปัจจัยเสี่ยงหลักที่ทำให้เกิด
           1 ระดับคอเลสเตอรอลในเลือดสงโดยที่มีระดับ LDL choles- terol "และ HDLcholestero ต่ำกว่าปกติ
           2 ความดันโลหิตสูงโดยใช้เกณท์ 140/90 mmHg ขึ้นไป
           3 การสูบบุหรีเป็นการทำลายและทำให้เส้นเลือดแข็งกว่าปกติอีกทั้งยังทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นและทำให้ไขมันชนิดดีลดลงดัวย
           4 โรคเบาหวาน
           5 น้ำหนักคัเกินมาตรฐาน
           6 มีภาวะ Metabolic syndrome เป็นกลุ่มอาการที่เกี่ยวข้องกับความอ้วน
           7 ไม่ออกกำลังกาย
           8 อายุที่มากขึ้นจะยิ่งมีความเสี่ยงมากโดยเฉลี่ยผู้ชายอายุมากกว่า 45 ปีส่วนผู้หญิงอายุมากกว่า 55 ปี
           9 ในครอบครัมีประวัติเป็นโรคห้ใจตั้งแต่อายุยังน้อยปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ
           10 ระดับโปรดีนที่รียกว่ำ C-reactive protein (CRP) สูงกว่าปกติจะทำให้มีความเลี่ยงในการเกิดโรคห้ใจมากขึ้นพราะโปรตีนตัวนี้จะบ่งบอกว่ามีการอักเสบหรือมีการบาดเจ็บของเส้นเลือด
           11 Fibrinogen เป็นโปรตีนที่จำเป็นในการทำให้เกิดลิ่มเลือดแต่ถ้ามีมากเกินไปก็ส่งผลให้มีการเกาะตัวของเกร็ดเลือดและไปอุดตันเส้นเลือดที่สมองหรือหัวใจไตั
           12 Lipoprotein (a) เป็นสารที่ถูกสร้างขึ้นเมื่อไขมัน LDL ไปเกาะกบโปรดีนจึงทำให้กลไกการป้องกันลิ่มเลือดผิดปกติ
           13 Homocysteine เป็นกรดอะมิโนที่ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อใชัสร้างและทดแทนนี้อเยื่อที่ตายถ้ารำงกายมีสารตัวนี้ในระดับสูงจะทำให้เกิดความเสี่ยงของโรคหัวใจไดั
           14 Sleop อpnoa เป็นภาวะความผิดปกติของการหายใจในขณะหลับอาจหายใจสั้นดี้นหรือหยุดทายใจไปชั่วขณะ
           15 ความเครียด
           16 แอลกอฮอล์


การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจ
          การรักษาผู้ป่วยโรคหลอดหลอดเลือดหัวใจจำเป็นต้องอาศัยการปรับปลี่ยนพฤติกรมและการกินยาอย่างสม่ำเสมอหรือในบางรยอาจต้องรับการรักษาตัวยการทำหัตถการ(การใช้ทักษะทางมือการเจาะเลือด)สำหรับเป้าหมายหลักของการรักษาก็เพื่อช่วยลดอาการต่างๆที่เป็นช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆที่จะทำให้เกิดการอุดตันของเส้นเลือด.ช่วยทำให้สันเลือดขยายมากขึ้นหรือบางรายอาจต้องทำ bypass และเป็นการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเส้นเลือดหัวใจ

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (festyle changes)
         การมีสขภาพที่ดีถือเป็นการป้องกันการเกิดโรคหัวใจได้เมื่อมาถึงตรงนี้แล้ว...ก็อยากจะแนะนำข้อปฏิบัติในการปรับปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อคุณจะได้ยืนอยู่ห่างไกลจากโรคหัวใจ

ควรมีการควบคุมอาหารตามหลักกะเพี่อลดปริมาณคอเลสเตอรอล
         1 กินอาหารที่ช่วยลดความดันและลดคอเลสเตอรอลโดยการไม่กินอาหารเด็มหรืออาหารที่มีโซเดียมสูงและอาหารมันต่างๆ ให้มีไขมันอิ่มตัวในอาหาร <7% และไขมันทั้หมดน้อยกว่า 25-35% ของแคลอรีทั้งหมดควบคุมระดับคอเลสเตอรอลให้ต่ำกว่า 200 มิลลิกรัมต่อวันหันมากินอาหารที่มีไฟเบอร์ให้มากขึ้นพวกข้าวกล้องผักผลไม้และถัวต่างๆหรืออาจกินปลาให้มากขึ้นอาจ 2-3 ต่อสัปดาห์เพื่อเป็นการเพิ่ม omega-3 และงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพราะจะทำให้ความดันโลหิตและไขมันไตรกลีเซอร์ไลด์สูงขึ้น
          2 ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมถ้น้ำหนักเกินมาตรฐานควรลดให้ไดั 7-10% ภายใน 3 เดือนและควรควบคุมดัชนีมวลกายให้ด่ำกว่า 23
          3 ควรเพิ่มการออกกำลังกายอาจปรึกษาแพทย์ว่าสามารถออกได้มากน้อยแค่ไหนสำหรับคนที่เป็นโรคหัวใจควรริมการออกกำลังกายระดับปานกลางเช่นเดินเร็วเต้นรำปั้นจักรยานทำสวนประมาณ 30 นาทีหรืออย่างน้อย 5 วันต่อปดาห์
          4 งดสูบบุหรีเหตุพราะบุหรีเป็นตัวการทำลายเส้นเลือดและยังทำให้ไขมันชนิดดี HDL ต่ำกว่าปกติได้
          5 เรียนรู้ที่จะจัดการกับความเครียดซึ่งผลการวิจัยพบว่าความเครียดเป็นตัว trigger ของการเกิดหัวใจวายได้โดยเฉพาะอย่างยิงวลาโกรธทางเลือกหนึ่งที่จะช่วยกำจัดความเครียดได้ก็คือการออกกำลังกายหรือนังสมาธิแต่ก็มีหลายคนที่กำจัดความเครียดแบบทำร้ายขภาพด้วย การดื่มเหล้า สูบบุหรี่
          6 ควรนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอและเลิกลุยงานหนัก


การรักษาด้วยยา (Medicines)
          เป้าหมายของการรักษาด้วยยาก็เพื่อช่วยให้ตัวใจทำงานน้อยลงและลดอาการที่เกิดจากเส้นเลือดหัวใจช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดหัวใจวายหรือกล้ามเนี้อหัวใจตายเฉียบพลันช่วยลดระดับไขมันและคอเลสเตอรอลในเลือดงช่วยป้องกันการเกิดลิมเลือดและช่วยป้องกันหรือเลื่อนโอกาสในการต้องทำหัตถการเช่นการสวนาวใจหรือผ่าตัด (bypass)
         สำหรับยารักษานั้นจะมีหลากหลายชนิดซึ่งแพทย์ผู้รักษาจะดูจากโรคประจำตัวอื่นๆประกอบด้วยนอกเหนือจากนั้นก็จะเป็นยาลดความดันโลหิดยาลดไขมันและยาป้องกันลิ่มเลือดถึงแม้ว่าจะไม่มีอาการผิดปกติใดๆก็ตามผู้ป่วยก็จำเป็นต้องไปพบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอหรือในบางรายอาจต้องรับการรักษาด้วยการทำหัดถการเช่น
         1 Angioplasty เป็นการสอดท่อเข้าในสันเลือดโดยมีบอลลูนหรือเครื่องมืออยู่ที่ส่วนปลายของสายเพื่อใช้ในการถ่างขยายเส้นเลือดที่ตีบให้กว้างขึ้นเป็นการช่วยลดการดีบตันและเพิ่มเลือดให้ส่งไปยังกล้ามเนี้อหัวใจได้ดีขึ้นหรือบางครั้งอาจมีการไส่stentซึ่งเป็นท่อขน้ำดเล็กเข้าไปแทนที่
         2 CABG เป็นการผ่าตัดน้ำเส้นเลือดจากส่วนอื่นของร่างกายมาตัดต่อใช้แทนที่เส้นเลือดที่ดีบตันแต่ในปัจจุบันการผ่าตัดวิธีนี้จะเสำคัญอลดน้อยลงเพราะการใช้วิธี balloon หรือ stent ได้ผลค่อนข้างดีกว่าและมีการตรวจพบที่เร็วขึ้น
         แม้ว่าล่าสุดทางการแพทย์จะมีวิธีรักษาที่มีประสิทธิภาพ แต่เราก็ควรตระหนักว่าการป้องกันไว้ก่อนถือเป็นสิ่งที่ดีที่สุดเใช่รืองยากเลยเพียงแค่หมันดูแลสุขภาพควบคุมน้ำหนักควบคุมอาหารเพื่อเป็นการป้องกันคอเลสเตอรอลและโรคมาหวาน อีกทั้งหมันออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและไม่สูบบุหรี่


หัวใจโต
      หัวใจโตภาวะหรืออาการที่มีเหตุมาจากโรคต่างๆ คุณสามารถเห็นได้ง่าย เมื่อมีการเอ็กซเรย์หรือบางคนอาจเกิดขึ้นชั่วคราว เช่นขณะตั้งครรภ์ และอาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆเช่น โรคเส้นเลือดหัวใจขาดเลือด และโรคลิ้นห้วใจ
      ลองถ้าหัวใจของคุณมีภาวะหัวใจโตอาการบางอย่างก็จะปรกฏออกมาให้เห็นเช่นหายใจลำบากหายใจสั่น และเร็ว จังหวะการเด้นของห้วใจผิดปกติ  มีอาการมืนงงเวียนหัว ตัวบวม ขาบวม และไอ แต่ถ้าเป็นภาวะห้วใจขาดเลือดแบบเฉียบพลันก็จะมีอาการ เจ็บหน้าอกหายใจลำบากเหนื่อยหอบและเป็นลมหมดสติที่สำคัญอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาจากการมีหัวใจโตและที่อันตรายที่สุดคือภาวะที่หัวใจห้องขายด้านล่างโดซึ่งเป็นสาพดูที่ทำให้หัวใจวายได้ทำให้หัวใจไม่สามารถปั๊มเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่ำงกายได้อย่างเพียงพอ


สาเหตุที่ทำให้หัวใจโต
         1 ความดันโลหิตสูง
         2 ลิ้นหัวใจรัว
         3 กล้ามเนือหัวใจผิดปกติ (cardiomyopathy)
         4 โรคหัวใจผิดปกดิแต่ก่าเนิด
         5 มีภาวะความดันเส้นเลือดในปอดลูง (pulmonary hyper tension)
         6 โลหิตจาง
         7 โรคไทรอยด์
         8 ภาวะธาตุเหล็กในร่างกายสูงผิดปกติ(hemochromatosis)
         9 โรคที่มีโปรตีนสูงผิดปกติในห้วใจ(amyddosis)
        หากสงสัยว่าจะเข้าข่ายเป็นโรคหัวใจก็ควรพบแพทย์เพื่อตรวจเช็กร่างกายอย่างละเอียดเพราะความรนแรงของโรคดือถึงชีวิตหรือเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงแต่อย่างน้อยๆก็ควรตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี



โรคหลอดเลือดสมอง
         โรคหลอดเลือดสมอง แค่ได้ยินก็รู้สึก กลัวตายซะแล้ว โรคนี้มีต้นสายปลายเหตุมาจากอะไรเรามารู้จักกันดีกว่า
         โรคหลอดเลือดสมองจะเกิดขึ้นเมื่อเชลล์สมองตายเนื่องจากการขาดเลือดและสาเหตุที่ทำให้เซลล์ขาดเลือดนั้นก็มีด้วยกันสองสาเหตุหลักๆ คือส้นเลือดแดงตีบหรืออุดตัน และเส้นเลือดแดงแตกเมื่อถึงวลา...ไม่ว่าจะดีบหรือแตกก็ถือว่ารุนแรงพอกันจริงมั้ยครับ
   

ในกรณีที่เส้นเลือดแดงตีบจะมีด้วยกัน 3 ลักษณะ
         1 Ischemic stroke เป็นภาวะเสันเลือดแดงดีบคือเสันเลือดตีบแคบกว่าปกติหรือมีความแข็งกว่าปกดิโดยจะเกิดขึ้นกับร่ำงกายทีมีปัญหาอยู่ก่อนแล้วเช่นมีไขมันในเลือดสูงโรคเบาหวานเป็นโรคความดันโลหิตสูงและติดยูบบุหรีจากสถิติพบว่ามากกว่า 90% ของคนที่เป็นโรคเส้นเลือดสมองจะจัดอยู่ในกลุ่มนี้
         2 Thrombotic stroke เป็นภาวะการแข็งตัวของเส้นเลือดแดงหรือที่เรียกว่า atherosclerosis โดยปกติแลัวสมองจะมีเส้นเลือดหลักไปเลี่ยงสี่เส้น คือ ด้านหน้าสองเส้น และด้านหลังสองเส้น ถ้าเส้นเลือดพวกนี้ดีบแคบกว่าปกติจากการที่เสันลือดแข็งตัวมีเซลล์ที่ตายอยู่ในกระแสเลือดหรือมีคอเลสเตอรอลสูงก็จะไปอุดคันเส้นเลือดดำเหล่านี้จึงส่งผลให้มีภาวะขาดเลือดและเซลล์สมองก็จะถูกทำลาย
         3 Embdcstroke เป็นภาวะที่มีลิ่มเลือดจากหัวใจหรืออวัยวะอื่นไหลมาอุดตันที่สมองซึ่งลิ่มเลือดพวกนี้โดยมากจะพบในคนทีเป็นหรือมีจังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ
         สำหรับกรณีทีเส้นเลือดในสมองแตก (Hemorrhagic stroke) เมื่อเส้นเลือดแตกเนี้อสมองก็จะขาดเลือดไปเลี้ยงและเลือดที่ไหลออกมาก็จะทำให้สมองบวมยิ่งขึ้นส่วนสาเหตุที่พบกันบ่อยที่สุดก็มาจากความดันโลหิตสูงมีภาวะเส้นเลือดในสมองโป่งพองและเส้นเลือดแดงในสมองผิดปกติ


ความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
       1 การสูบบุหรี่
       2 ความดันโลหิตสง
       3 โรคเบาหวาน
       4 มีไขมันในเลือดสูง
       5 ผู้ที่มีอายุมากกว่า 55 ปี
       6 โรคหัวใจในกลุ่มที่มีจังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
       7 ในครอบครัวมีประวัติเป็นโรคเส้นเลือดสมอง
       8 น้ำหนักเกินมาตรฐาน
       9 ไม่ออกกำลังกาย
       10 กินยาฮอโมนเพศโดยเฉพาะอย่างยิ่งเอสโตรเจน


อาการที่บ่งบอกว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
        ลักษณะอาการที่ปรากฏจะขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเนี้อสมองที่ขาดเลือดและขึ้นอยู่กับปริมาณของเซลล์สมองที่ถูกทำลายแต่ถ้าเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อยอาจจะไม่มีอาการอะไรฉายขัดให้เห็นเรียก silent strokes และสำหรับอาการที่เห็นเด่นชัดว่าเป็นอาการหลักของเล้แลือดสมองก็มีด้วยกัน 5 อย่างคือ
        1 มีอาการชาหรืออ่อนแรงที่ใบหน้าแขนหรือขาข้างใดข้างหนึ่งอย่างเฉียบพลัน
        2 ความรัสึกตัวเปลี่ยนแปลงไปเช่นพูดไม่ซัดหรือไม่สามารถเข้าใจได้อย่างเฉียบพลัน
        3 ตาข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างมองเห็นผิดปกติอย่างเฉียบพลัน
        4 เดินและทรงตัวผิดปกติหรือมีอาการมึนงงเวียนศีรษะอยางเฉียบพลันมีอาการปวดหัวอย่างรุนแรงโดยไม่มีสาเหตุอย่างเฉียบพลัน


การรักษา
        การรักษาสำหรับคนที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองที่ดีบและแตกจะมีแนวทางในการรักษาที่แตกต่างกันเส้นเลือดที่คืบเป้าหมายในการรักษาก็เพื่อทำให้เลือดสามารถไหลเวียนไปเลียงเนี้อสมองได้ตามปกติเวนสันเลือดที่แดกเป้าหมายในการรักษาก็คือการหยุดเลือดลดการกดเบียดเนี้อสมองจากเลือดที่ไหลออกมาผ่าตัดซ่อมแซมเสันเลือดและระบายเลือดส่วนที่ไหลออกมากดเบียดลมองเพีอช่วยลดความดันในสมอง

การป้องกัน
         เชื่อแน่ว่า...คงไม่มีใครอยากเป็นโรคหลอดเลือดสมองกันหรอกนะเช่นนั้นแล้วก็ตัองพีงระวังและป้องกันไม่ให้เกิดจะดีกว่า
         1 ควบคมระดับความดันโลหิตให้ดีควบคุมระดับไขมันในเลือด
         2 งดสูบบุหรี่
         3 ควบคุมโรคเบาหวาน
         4 ควบคมน้ำหนักตัวให้เหมาะสม
         5 กินผักและผลไม้ให้มากขึ้น
         6 ออกกำลังกายเป็นประจำถอยห่างจากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทุกชนิด


credit Dr. Carebear

COPYRIGHT©2024 SIAMPILL ALL RIGHTS RESERVED.